วันพฤหัสบดีที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2563

การสรุปผลและการเผยแพร่ผลงาน


   การแสดงผลงานจัดได้ว่าเป็นขั้นตอนสำคัญอีกประการหนึ่งของการทำโครงงานเรียกได้ว่าเป็นงานขั้นตอนสุดท้ายของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นการแสดงผลิตผลของความคิดและการปฏิบัติการทั้งหมดที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเวลาไป และเป็นวิธีการที่จะทำให้ผู้อื่นรับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้นๆ มีผู้กล่าวกันว่าการวางแผนออกแบบ เพื่อจัดแสดงผลงานนั้นมีความสำคัญเท่าๆ กับการทำโครงงานนั้นเอง ผลงานที่ทำจะดียอดเยี่ยมเพียงใด แต่ถ้าการจัดแสดงผลงานทำได้ไม่ดีก็เท่ากับไม่ได้แสดงถึงความยอดเยี่ยมของผลงานนั้นเลย อ่านเพิ่มเติม

วันพฤหัสบดีที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2563

การวางแผนและออกแบบโครงงาน


 การวางแผนและออกแบบโครงงาน


หลังจากกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต และแนวทางในการพัฒนาโครงงานแล้ว ควรวางแผนการพัฒนาโครงงานตามขั้นตอนต่างๆ ให้รอบครอบ รัดกุม

1. ศึกษาเอกสาร และศึกษาความเป็นไปได้ของโครงงาน
ขั้นตอนนี้ ควรเริ่มจากการค้นหาเอกสารที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม และศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น

2. กำหนดผลสำเร็จของโครงงาน
เป็นการกำหนดสิ่งที่จะส่งมอบและเวลาในการส่งมอบให้ชัดเจน

3. แบ่งการดำเนินการออกเป็นกิจกรรมย่อย
ในการพัฒนาโครงงานนั้น ต้องแบ่งการทำงานออกเป็นกิจกรรมย่อยให้ชัดเจน เช่น ขั้นวางแผน ขั้นการสำรวจ ขั้นศึกษาเทคนิคที่เกี่ยวข้อง ขั้นพัฒนาโปรแกรม ขั้นการทดสอบและปรับปรุง และ ขั้นจัดทำเอกสาร เป็นต้น

4. กำหนดขั้นตอนก่อนหลังของแต่ละกิจกรรม
เป็นการนำขั้นตอนต่างๆ ในข้อที่ มาจัดลำดับความสำคัญ แล้วเรียงลำดับก่อนหลัง เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย โดยอาจเขียนเป็นแผนภูมิก็ได้ อ่านเพิ่มเติม

การศึกษาและกำหนดขอบเขตของปัญหา

 


การศึกษาและกำหนดขอบเขตของปัญหา การวิจัยทุกเรื่องจะต้องมีขอบเขตของการศึกษา เพื่อให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เนื่องผู้วิจัยไม่สามารถทำการวิจัยได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น ด้วยเหตุนี้เมื่อได้ปัญหาที่จะทำการวิจัยแน่นอนแล้ว ผู้วิจัยจะต้องกำหนดขอบเขตของการศึกษาให้ชัดเจนว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง  โดยการกำหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลงเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของปัญหาการวิจัยว่าจะศึกษาในเรื่องใด ศึกษากับใคร และศึกษาแง่มุมใด ทั้งนี้เพื่อตีกรอบความคิดของผู้วิจัยและผู้อ่านให้อยู่ในวงที่จำกัดไว้ อ่านเพิ่มเติม

การกำหนดปัญหา


  การกำหนดปัญหา (Problem Definition)


    การกำหนดปัญหา หรือเข้าใจปัญหาเป็นขั้นตอนเริ่มต้นของการพัฒนาระบบ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบจะต้องทำความเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และความต้องการของผู้ใช้ เพื่อหาแนวทางของระบบใหม่ที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ และสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับธุรกิจได้ดังนั้น ขั้นตอนนี้ จึงเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญมากที่สุด เนื่องจากผลลัพธ์ของการดำเนินงานในขั้นตอนการกำหนดปัญหา อ่านเพิ่มเติม

การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล

 

 

ความสำคัญของการจัดเรียงข้อมูล 
การจัดเรียงข้อมูล เป็นการจัดการข้อมูลที่กระทำกันมากในงานประยุกต์ต่างๆ  เช่น การทำข้อมูลนักศึกษามาจัดเลียงลำดับรหัสนักศึกษา เพื่อนำไปใช้ในการพิมพ์ใบเซ็นชื่อเข้าสอบหรือการเรียงข้อมูลพนักงานตามรหัสพนักงานเพื่อใช้งการพิมพ์สลิปเงินเดือน 

การทำซ้ำ

 

การทำงานแบบทำซ้ำ

            ลักษณะ ของขั้นตอนวิธีการทำงาน นอกจากขั้นตอนวิธีการทำงานแบบลำดับแลละขั้นตอนวิธีแบบเลือกทำแล้ว ยังมีลักษณะการทำงานของขั้นตอนวิธีอีกลักษณะหนึ่ง คือ ขั้นตอนวิธีการทำงานแบบทำซ้ำ ขั้นตอนวิธีการทำงานแบบทำซ้ำใช้สำหรับกรณีที่ต้องการทำกระบวนการต่าง ๆ ซ้ำกันหลายครั้ง โดยมีการตรวจสอบเงื่อนไขสำหรับการตัดสินใจ เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนของการทำซ้ำ หรือออกจากขั้นตอนของการทำซ้ำ การเขียนขั้นตอนวิธีสำหรับการทำงานแบบทำซ้ำ ได้รับการพัฒนามาจากโครงสร้างผังงานการทำซ้ำ อ่านเพิ่มเติม

การออกแบบขั้นตอนวิธี

 




  การออกแบบขั้นตอนวิธี (algorithm development) เป็นการออกแบบขั้นตอนในการแก้ปัญหา ซึ่งในปัญหาเดียวกันอาจมีการออกแบบคำสั่งที่ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้แก้ไข แต่หากได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องแล้ว ก็ถือว่าขั้นตอนวิธีสามารถแก้ไขปัญหาได้ การออกแบบขั้นตอนวิธี มีเครื่องมือในการนำเสนอขั้นตอนวิธี อ่านเพิ่มเติม







การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา

 

การที่จะแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งได้นั้น สิ่งแรกที่ต้องทำคือทำความเข้าใจเกี่ยวกับถ้อยคำต่างๆ ในปัญหา แล้วแยกปัญหาให้ออกว่าอะไรเป็นสิ่งที่ต้องหา แล้วมีอะไรเป็นข้อมูลที่กำหนด และมีเงื่อนไขใดบ้าง หลังจากนั้นจึงพิจารณาว่าข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดให้นั้นเพียงพอที่จะหาคำตอบของปัญหาได้หรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอ ให้หาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อที่จะสามารถแก้ อ่านเพิ่มเติม

การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

 

การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทำตามโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาทุกประการ ดังนั้นการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาช่วยสำหรับการแก้ปัญหา จึงต้องมีโปรแกรมสำหรับการแก้ปัญหานั้น เพื่อสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ ผู้ที่ทำการเขียนโปรแกรมจึงต้องทราบถึงวิธีการของการแก้ปัญหาที่ต้องการแก้ไขทุกขั้นตอน จากนั้นจึงทำการเรียบเรียงลำ อ่านเพิ่มเติม